วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2550

GRADE++

แจกแจงหลักเกณฑ์การให้เกรด (ดูกัน 1 อาทิตย์ก่อนจบเทอม)

:: 15% participation/attendance/report/presentation
:: 10% sketchbook
:: 15% diary project
:: 20% final project
:: 40% project/assignment


มาถึง project สุดท้าย Poster project ที่ยังมีโอกาสดึงเกรดออกมาให้สวยหรู

:: 30% The Visual Look
poster ที่ทำออกมา สามารถทำหน้าที่สื่อสารเรื่องราวได้มากแค่ไหน

:: 15% Design Concept
ไอเดียที่เลือกมาสร้างเรื่อง สัมพันธ์กับวิธีการออกแบบ logotype (งานก่อน)

:: 10% Alternative Ideas/ Idea Development
การพัฒนาไอเดียงาน

:: 30% Typography
การใช้ type, colour, image และ design element ต่างๆ ในงาน

:: 15% Presentation
ความเรียบร้อยในการส่งงาน และส่งงานทันเวลา

สำหรับคนที่ต้องแก้ไขงาน สามารถ post งานใน blog นี้
เพื่อที่ อ. จะได้ comment ให้ ขยันๆ เข้า good luck!

BASE typeface (1995)

Base ออกแบบโดย Zuzana Licko / ซูซานน่า ลิคโค

ข้อมูลเกี่ยวกับนักออกแบบตัวหนังสือและการออกแบบของเธอ
ลิคโคเกิดในเมืองบราทิสลาวา,เข็คโคสโลวาเกีย ในปี 1961 และย้ายไปอย่ที่อเมริกาเมื่ออายุ1ขวบ พ่อของเฑอเป็นนักคณิตศาสตร์จัดให้เธอทำงานเกี่ยวกับระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ และได้มีโอกาส
ออกแบบเป็นครั้งแรกตัวหนังสือกรีกใช้สำหรับส่วนบุคคล เธอได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ Berdeley ในสำหรับส่วนบุคคล เธอได้วางแผนเรียนต่อทางด้านสถาปัตยกรรมแต่ก็ได้เปลี่ยนไปเรียนทัศนศิลป์และจบการศึกษาสาขาศิลปะเพื่อการติดต่อสื่อสาร
เธอไม่ชอบลายมือข้างขวาเพราะมันสวยกว่าข้างซ้ายเธอจึงเปลี่ยนมาใช้ข้างซ้าย
เธอได้พบกับทีม Emigre ดีไซน์ กับสามีของเธอ รูดี่ แวนเดอร์แลนในปี 1984 และร่วมกันผลิตวารสารงานวิจารณ์ รวมถึงการออกแบบตัวเลข ของลิคโคด้วย
Emigre ได้มุ่งหมายตั้งแต่แรกที่จะให้นิตยสารนี้แสดงถึงนักศิลปะ ช่างถ่ายรูป นักกวี และสถาปนิก ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1984 โดยวานเดอร์แลน และผู้อพยพชาวดัตษ์ 2 คน ตั้งแต่ไม่มีงบประมาณ สำหรับเรียงพิมพ์ ตัวหนังสือที่ใช้ตัวพิมพ์เกือบทั้งหมดซึ่งเคยใช้บน
เครื่องถ่ายเอกสาร
การทำงานกับนักคอมพิวเตอร์ Macin fosh ที่ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ และเครื่องมือตัวอักษรภาพ ลิคโค เริ่มสร้างตัวอักษรลงแม๊กกาซีน Emperor Lakland and Emigre ได้ออกแบบ เพื่อจัดการดำเนินการผลิตให้เข้าที่ พวกเขา ได้ตีพิมพ์เป็นคร้งที่ 2 และหลังจากนั้น
ก็เริ่มมีผู้อ่านมากมายถามหาหนังสือของเขา เธอเริ่มโฆษณาและตีพิมพ์เป็นครั้งที่ 3 ในปี 1905 ลิคโค และวานเดอร์แลนได้รับการยอมรับให้เข้าสู่กลุ่มตลาด และกลายเป็นนักดีไซน์เนอร์ตั้งแต่อายุน้อย











วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550

FEDRA 2002

นาย ณพนรรจ์ เสเกกุล
นาย สุจจชัย โอชพันธ์ชัย


FEDRA 2002





Peter Bilak
Peter Bilak was born in Czechoslovakia, studied in England, the USA, and France
to end up in The Netherlands. Works in the field of editorial, graphic, type
and web design, teaches part time at the Royal Academy in The Hague.
Started Typotheque in 1999, and Dot Dot Dot in 2000, together with Stuart Bailey.
Besides fonts in Typotheque he has also designed fonts for FontShop International
](e.g. FF Eureka). Member of AGI (Alliance Graphique Internationale).




ผลงาน









Futura(Paul Renner)

นาย ณัชพล ลาภกิตติชัย
น.ส. ประภาสิริ คร้ามสมอ


Futura





เขาเกิดในPrussiaและนับถือนิกายโปรแตสแตนต์อย่างเข้มงวด เขาศึกษาอยุ่ที่โรงพละในศตวรรษที่19 เขาก้ได้ไปเรียนภาษาเยอรมันจนมีความสามารถมาก ถึงขนาดการเป็นผู้นำ เขามีความรับผิดชอบ และมีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เขาเป็นคนขี้สงสัยในทางด้านศิลปะ และไม่ชอบรูปแบบของคนสมัยใหม่ เช่น ดนตรีแจ๊ส การเต้นรำ แต่เขาก็นับถือ การนำไปใช้ได้จริงในการคลายเครียดของความทันสมัย ดังนั้น Renner สามารถเห็นตัวเชื่อมระหว่างประเพณีแบบดั้งเดิมกับแบบสมัยใหม่ เขาจึงพยายามที่จะรวมสถาปัติยกรรมแบบ Gothic กับแบบ roman เป็นแบบตัวพิมพ์
เขาเริ่มต้นด้วยอาชีพนักเขียน และได้เป็นสมาชิกของ Deutscher Werkbund เขาประดิษฐ์หนังสือที่เป็นตัวชี้ทางและสร้างให้เป็นตัวอักษรที่ประชาชนทั่วไปใช้กัน ในศตวรรษที่20 ก็มีแบบตัวพิมพ์ Architype Renner ซึ้งเป็นรากฐานของ Renner ตั้งแต่แรก เป็นประสบการณ์ในการสร้างตัวอักษร ของRenner
ในปี1994หนังสือพิมพ์ของรัสเซียได้นำแบบอักษรของRennerมาใช้ใหม่ Rennerมีเพื่อนเป็นคนเยอรมันเป็นผู้เชี่ยวชาญการพิมพ์ชื่อ Jan Tschichold
ก่อนหน้าปี 1932 เขาต่อต้านนาซีเป็นอย่างมาก เขาทำแผ่นพับ “Kulturbolschewismus” เพื่อดึงดูดความสนใจให้ไล่พรรคนาซีออกจาก Munich และเขาก็ถูกเนรเทศ


ผลงาน


Front Futura


try face <เขียนผิดครับที่ถูกคือ>type face
จะกับมาแก้ให้โดยด่วนครับ

ประวัติของ ตัวพิมพ์ไทย

๑๐ ตัวพิมพ์ กับ ๑๐ ยุคสังคมไทย
เรียบเรียงโดย ประชา สุวีรานนท์

จากนิตยสาร สารคดี
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๑๑ เดือน กันยายน ๒๕๔๕

ตัวพิมพ์ (font) มิได้ทำหน้าที่เพียง "ส่งผ่าน" ข้อมูลข่าวสาร
หรือเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงเท่านั้น รูปร่างหน้าตาของตัวพิมพ์ยังช่วยกำหนด
"สำเนียง" ที่สร้างความหมาย และบุคลิกที่ต่างกันไปสำหรับเนื้อหาที่จะสื่อ

ตัวพิมพ์ ๑๐ ตัวพิมพ์ที่เลือกสรรมาเป็นตัวแทนของ ๑๐ ยุคสังคมไทยนี้
เพื่อแสดงให้เห็นว่า ตัวพิมพ์มีพัฒนาการ ที่แนบแน่นไปพร้อมกับความก้าวหน้า
และถดถอยของสังคมไทย ตลอดระยะเวลา ๑๖๐ ปีนับจากตัวพิมพ์ไทยถือกำเนิดขึ้น

ครั้งหนึ่งตัวพิมพ์อาจเคยถูกมองว่ามีหน้าที่เพียง "ส่งผ่าน" ข้อมูลข่าวสาร
เป็นสิ่งที่ทุกคน "อ่าน" หากกลับไม่มีใครมองเห็น แต่มาในยุคที่สื่อสารมวลชนเติบโต
และทรงอิทธิพลต่อสังคม คงไม่มีใครปฏิเสธว่า มิติของการสื่อสารด้วย
"ภาษารูปทรง" ของตัวพิมพ์ ที่ไม่เพียงส่งสารแทนเสียง หากยังถ่ายทอด "สำเนียง" หรือบุคลิกของสารและผู้สื่อสาร ได้ปรากฏเด่นชัดจนกลายเป็นสิ่งซึ่งไม่อาจมองข้าม
และ "ตัวพิมพ์" ก็ได้รับการยอมรับในฐานะสิ่งประดิษฐ์ที่มีบทบาทและมีพลัง

อย่างไรก็ตาม บทบาทของตัวพิมพ์ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในยุคข้อมูลข่าวสาร หากปรากฏอย่างแฝงเร้นมาเนิ่นนานนับจากวันที่มันถือกำเนิดขึ้น ประชา สุวีรานนท์ จะพาเราก้าวสู่ประวัติศาสตร์ของตัวพิมพ์ ทำความรู้จักกับ "หน้าตา" และ "สำเนียง" ของสิ่งประดิษฐ์อันทรงพลัง ที่มีบทบาทและพัฒนาการแนบแน่นกับสังคมไทยตลอดมา นับแต่ยุคของการสร้างชาติ


อ่านต่อที่สารคดี

OFFICINA 1990


ศุภกร ชลวิริยะกุล ID 1490801824
ธนากร สุตาชา ID 1490800271

Officina
font Officina เกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1990 Erik Spiekermann เป็นผู้ออกแบบอักษรนี้ ได้เริ่มนำแบบตัวอักษร ระหว่างแบบดั้งเดิมและตัวหนามาใช้ เพิ่มน้ำหนักเข้าไป ลักษณะของตัวพิมพ์เป็นตัวเล็กๆแต่มีความชัดเจน ซึ่งน้ำหนักของตัวพิมพ์และรูปแบบการเอนมีการวางแบบการทำ เป็นอย่างดี และในขณะที่แบบพิมพ์นั้นได้มีการยอมรับในด้านธุรกิจกันอย่างแพร่หลาย จึงไม่แปลกที่ officinac จะได้รับการคัดเลือกเป็นอันดับต้นๆในการทำงาน

แหล่งที่มา
http://www.linotype.com/763/itcofficinaserif-family.html
http://www.e-pix.it/categorie/lista.asp?cat=12